fbpx

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)

“โอ้ย วันนี้รู้สึกน้ำตาลต่ำจังเลย คงต้องจัดชานมไข่มุกสักแก้วซะแล้ว” ประโยคแบบนี้หลายคนคงได้ยินเพื่อนๆชอบบ่นกันขำๆ เพื่อเป็นข้ออ้างในการกินของที่อยากกิน หรืออาจะเป็นตัวเราเองซะด้วยที่ใช้เหตุผลนี้ในการบอกถึงความจำเป็ในการกินครั้งนี้ แต่ทราบกันไหมครับว่า “ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ” นั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริงๆ และยังอันตรายถึงขั้นโคม่ากันเลยที่เดียว วันนี้ Elife จึงจะพาทุกคนมารู้จักกับภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำกันครับ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม/เดซิลิตร มักทำให้เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลียซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใช้ยาลดน้ำตาลหรือฉีดอินซูลิน อาการน้ำตาลในเลือดต่ำ -เหงื่อออก -ไม่มีแรง -เวียนศีรษะ -สับสน

Read more

รู้หรือไม่…เครื่องวัดความดันสำคัญมาก

รู้หรือไม่…เครื่องวัดความดันสำคัญมาก

      ปัจจุบันโรคความดันโลหิต มีคนเป็นมากขนาดตัวแอดมินเองก็ยังเป็นเลยค่ะ แจ้งให้เข้าใจตรงกันเลยนะคะว่าความดันโลหิตมี 2 ประเภท คือความดันสูง และ ความดันต่ำ  ความดันของคนปกติควรอยู่ที่ 120/80 มิลลิเมตรปรอท มาค่ะแอดมินจะพาไปทำความเรารู้จักที่ละประเภท โรคความดันโลหิตสูง         โรคยอดฮิตที่มักจะพบได้ทั่วไป สามารถเกิดได้ ในกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งโรคความดันโลหิตสูง อาการทั่วไปอาจจะดูไม่ร้ายแรง แต่ทุกคนเชื่อมั้ยคะว่า ความดันโลหิตสูงอาจเป็นอีกหนึ่งตัวการ ที่จะทำให้เกิดโรคร้ายอื่นๆตามมา เช่น

Read more

รู้หรือไม่?…ความดันโลหิตสูง ภัยเงียบทำลายหัวใจ

รู้หรือไม่?…ความดันโลหิตสูง ภัยเงียบทำลายหัวใจ

ความดันโลหิตสูง โรคยอดฮิตที่มักจะพบได้ทั่วไป สามารถเกิดได้ ในกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งโรคความดันโลหิตสูง อาการทั่วไปอาจจะดูไม่ร้ายแรง แต่ทุกคนเชื่อมั้ยคะว่า ความดันโลหิตสูงอาจเป็นอีกหนึ่งตัวการ ที่จะทำให้เกิดโรคร้ายอื่นๆตามมา วันนี้ เราจะมาทำความรู้จักกับความดันโลหิตสูงกันนะคะ ความดันโลหิตสูง ชื่อนี้มาที่มาค่ะ เพราะความดันโลหิตสูง เกิดจาการตรวจพบว่าความดันโลหิต อยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าปกติ ซึ่งค่าความดันที่สูงเกินกว่าปกติ คือมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท เพราะค่าความดันโลหิตที่ดี ต้องมีค่าความดันไม่เกิน 120/80 มิลลิเมตรปรอทเท่านั้น ซึ่งอาการเบื้องต้นของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง

Read more

5 อาหาร ที่ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรเสี่ยง

5 อาหาร ที่ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรเสี่ยง

โรคเบาหวาน ที่ไม่ได้หวานเหมือนชื่อ อีกหนึ่งปัญหาโรค ที่เป็นปัญหาสุขภาพของใครหลายๆคนที่กำลังประสบพบเจอกันอยู่ ซึ่งโรคเบาหวาน สามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเพศทุกวัย ไม่ใช่เฉพาะผู้สูงอายุหรือคนอ้วนเท่านั้น และสาเหตุการเกิดโรคเบาหวานนั้น เกิดจากการที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง และการทำงานผิดที่ปกติของฮอร์โมนที่ชื่อ อินสุลิน (Insulin) และเกิดได้ทั้งการติดต่อทางพันธุกรรม หรือแม้แต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่นพฤติกรรมการกินอาหารของเรา ก็สามารถทำให้เกิดโรคเบาหวานได้เช่นกัน และหลังจากเกิดโรคเบาหวานแล้ว การรับประทานอาหารยิ่งต้องการการใส่ใจเป็นพิเศษ วันนี้ เราขอยกตัวอย่าง อาหารที่ผู้ป่วยเบาหวานไม่ควรทานมาให้นะคะ รูปหมอ หรือคนไข้คุยกับหมอ 1 ผลไม้ที่มีรสชาติหวานและผลไม้แปรรูป

Read more

ทดลองใช้เครื่อง CGM ฟรี* วัดน้ำตาลในเลือดต่อเนื่อง 10-15วัน

ทดลองใช้เครื่อง CGM ฟรี* วัดน้ำตาลในเลือดต่อเนื่อง 10-15วัน

Continuous Glucose Monitoring – CGM เครื่องวัดระดับน้ำตาลแบบต่อเนื่อง ลดการเจาะนิ้วตรวจเลือด บอกค่าทุกๆ3นาที เป็นเวลา10วัน สามารถบันทึกเป็นกราฟ แจ้งเตือนเมื่อน้ำตาลสูงหรือต่ำเกินไป สร้างรายงานพฤติกรรม และสถิติ Report สามารถดูผลทั้งในมือถือ ผ่าน App, PDF หรือดูข้อมูลผ่าน Cloud(ดูผ่าน Website) สามารถใช้งานได้กับ บุลคนทั่วไปที่สนใจสุขภาพอยากดูพฤติกรรมตัวเอง, ผู้ป่วยเบาหวานประเภท1, ผู้ป่วยเบาหวานประเภท2

Read more

4ค่า ต้องรู้เพื่อสุขภาพที่ดี SpO2, อุณหภูมิ, ความดันโลหิต, น้ำตาลในเลือด

4ค่า ต้องรู้เพื่อสุขภาพที่ดี SpO2, อุณหภูมิ, ความดันโลหิต, น้ำตาลในเลือด

คุณรู้ไหมว่านอกจากน้ำหนักและส่วนสูงแล้ว ยังมี 4ค่าสำคัญที่คุณควรรู้เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ และที่สำคัญคุณสามารถวัดค่าดังกล่าวได้เองที่บ้าน ความดันโลหิต Blood Pressure หัวใจทำหน้าที่บีบตัวดันให้เลือดไหลเวียนทั่วร่างกาย การวัดความดันสากลใช้หน่วย มิลลิเมตรปรอท ความดันบีบตัวไม่ควรเกิน 120mmHg, คลายตัวไม่เกิน 80mmHg โรคที่เกี่ยวเนื่องกับความดันคือ ความดันต่ำนำมาซึ่งอาการ หน้ามืด, วิงเวียนศรีษะ อ่อนแรง, ซีด ส่วนภาวะความดันสูงทำให้มีความเสี่ยง เป็นโรคหลอดเลือดในสมอง(Stroke) โรคหัวใจ ความอิ่มตัวออกซิเจนในเลือด SpO2

Read more

เครื่องช่วยหายใจ และเครื่องผลิตออกซิเจน ความแตกต่างของการช่วยชีวิต

เครื่องช่วยหายใจ และเครื่องผลิตออกซิเจน ความแตกต่างของการช่วยชีวิต

เครื่องช่วยหายใจ ( Ventilator) และเครื่องผลิตออกซิเจน ( Oxygen Concentrator) ฟังดูแล้ว ทั้งสองเครื่องนี้อาจจะดูคล้ายกัน แต่ทุกท่านทราบมั้ยคะว่า ประโยชน์ และการใช้งานของทั้งสองเครื่องนั้น มีความแตกต่างกันอยู่ ในวันนี้ เรามาทำความรู้จักกับทั้งสองเครื่อง เพื่อการใช้งานที่เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุดกันนะคะ   เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator) เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ หายใจลำบาก หรือไม่สามารถหายใจด้วยตัวเองได้ ที่จะช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก และรับออกซิเจนได้ในปริมาณที่มากขึ้น

Read more

การหยุดหายใจขณะหลับ ภัยร้ายที่อันตรายถึงชีวิต

การหยุดหายใจขณะหลับ ภัยร้ายที่อันตรายถึงชีวิต

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นภาวะความผิดปติของการหายในขณะที่เรานอนหลับ ซึ่งอาจมีผลกระทบอื่นๆ ทำให้ความปกติอื่นตามมา และอาจอันตรายถึงชีวิต โดยปกติแล้วจะเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบได้มากในกลุ่มคนที่มีน้ำหนักตัวมาก และกลุ่มคนที่มีอายุ ผู้ชายจะพบอาการนี้ได้มากกว่าผู้หญิงถึง70%  และเราจะไม่สามารถรับรู้ถึงการหยุดหายใจขณะนอนหลับของตัวเองได้     แล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่าเราเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับ? ภาวะนี้ จะเริ่มต้นมาจากการนอนหลับที่ไม่ปกติ ที่จะส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ และถ้าหากเรามีอาการนอนกรน นอนละเมอ ก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนี้ได้เช่นกัน หรือจะเป็นอาการฝันร้าย ฝันผวา นอนสะดุ้ง ออกท่าทางขณะฝัน นอนกัดฟัน ก็เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหยุดหายใจได้เช่นกัน

Read more

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)

“โรคความดันโลหิตสูง หรือ Hypertension“ เป็นอีกหนึ่งโรคที่ควรให้ความสำคัญทั้งในผู้สูงอายุและกลุ่มคนวัยกลางคนเนื่องจากดัชนีชี้วัดระบุว่าโรคความดันโลหิตสูง ถูกตรวจพบในผู้ป่วยที่อายุน้อยลงเรื่อยๆ โรคความดันโลหิตสูงจะส่งผลให้เกิดอาการปวดหัว หรือหน้ามืด ซึ่งอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุล้มลงได้ ดังนั้นการดูแลสุขภาพจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ โดยวิธีดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถทำได้โดยการวัดความดันโลหิตเป็นประจำ ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิทัลที่สะดวกในการใช้งาน สามารถนำมาวัดเองได้ที่บ้าน และบอกได้ทั้งค่าความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ อาการความดันโลหิตสูงเป็นอย่างไร? ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการที่สังเกตุได้ชัดเจน แต่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบๆ เหมือนไมเกรน ในผู้ป่วยที่เป็นมานาน อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ

Read more

CGM vs BGM | วัดน้ำตาลแบบเจาะเลือด vs แบบติดวัดผลต่อเนื่อง ต่างกันอย่างไร?

CGM vs BGM | วัดน้ำตาลแบบเจาะเลือด vs แบบติดวัดผลต่อเนื่อง ต่างกันอย่างไร?

วิธีการวัดน้ำตาลมี 3วิธี ทำเองที่บ้านได้ 2วิธี(CGM, BGM) วิธีการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้ป่วยเบาหวานนั้นมีวิธี 3วิธีหลักๆ ดังต่อไปนี้ HbA1C เป็นแบบเจาะเลือด (ใช้ตย.เลือดเป็นหลอด) อันนี้ส่วนมากจะทำในโรงพยาบาล ทำเองที่บ้านไม่ได้ CGM (Contineous Glucose Monitoring) เป็นการวัดระดับน้ำตาลแบบต่อเนื่อง ทำเองที่บ้านได้โดยจะมีเครื่องมือติด Sensor เข้าที่ต้นแขน หรือ หน้าท้อง BGM (Blood

Read more

เทคนิคการเลือกซื้อเครื่องวัดน้ำตาลในเลือดแบบพกพา

เทคนิคการเลือกซื้อเครื่องวัดน้ำตาลในเลือดแบบพกพา

การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างมาก เพราะมีผลกับการรักษาและประเมินความเสี่ยงโรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ซึ่งหากเครื่องวัดน้ำตาลไม่ได้คุณภาพ ก็ย่อมมีผลทำให้การวางแผนการรักษาผิดพลาดไปด้วย บทความนี้จึงมีเทคนิคในการเลือกซื้อ เครื่องตรวจวัดน้ำตาล หรือเครื่องตรวจเบาหวานให้ได้ของดีมีคุณภาพแบบง่ายๆ มาฝากค่ะ เทคนิคการเลือกซื้อ เครื่องตรวจน้ำตาล ให้คุ้มค่า คุ้มราคาที่สุด !!! เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Meter :: BGM) หรือที่นิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า เครื่องตรวจน้ำตาล หรือ เครื่องตรวจเบาหวาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อความแม่นยำในการวางแผนการรักษา

Read more

8 ข้อ เช็คความเสี่ยงเบาหวานด้วยตัวเอง ก่อนพบคุณหมอ

8 ข้อ เช็คความเสี่ยงเบาหวานด้วยตัวเอง ก่อนพบคุณหมอ

8 ข้อ เช็คความเสี่ยงเบาหวานด้วยตัวเอง ก่อนพบคุณหมอ โรคเบาหวาน (Diabetes) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า อินซูลิน (Insulin) ซึ่งโดยปกติแล้วร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีอินซูลิน เพื่อนำน้ำตาลในกระแสเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะสมองและกล้ามเนื้อ ในภาวะที่อินซูลินมีความผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นการลดลงของปริมาณอินซูลินในร่างกาย หรือการที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินลดลง (หรือที่เรียกว่า ภาวะดื้ออินสุลิน) จะทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลที่อยู่ในกระแสเลือดไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้มีปริมาณน้ำตาลคงเหลือในกระแสเลือดมากกว่าปกติ สาเหตุของโรคเบาหวานเกิดจากการที่ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงมากขึ้นถึงระดับหนึ่ง จนทำให้ไตดูดกลับน้ำตาลได้ไม่หมด

Read more

โรคเบาหวานคืออะไร ระดับน้ำตาลเท่าไหร่ จึงเรียกว่าเสี่ยงโรคเบาหวาน?

โรคเบาหวานคืออะไร ระดับน้ำตาลเท่าไหร่ จึงเรียกว่าเสี่ยงโรคเบาหวาน?

สวัสดีครับ แฟนคลับ Elife ทุกคน มีใครในที่นี้เป็นสาวกของหวานกันบ้างยกมือขึ้น! ผมขอยกมือคนแรก เพราะผมเป็นคนหนึ่งที่ชอบทานของหวานมากๆ ไม่ว่าจะเป็นขนมหวานฝรั่งอย่าง ขนมเค้ก บานอฟฟี่ มาการอง ไอศกรีม ฯลฯ หรือจะเป็นขนมหวานไทย ทองหยิบ ทองหยอด ข้าวเหนียวมูลสังขยา บัวลอยน้ำกะทิ หืม ถ้ามีไข่หวานด้วยก็แจ๋วไปเลย ชักจะนอกเรื่อง กลับมาที่เรื่องของเรากันครับ สาเหตุที่ผมเกริ่นนำมาแบบนี้ เพื่อนๆที่เป็นสาวกของหวานเคยคิดกันบ้างไหมว่าการกินหวานของ อาจจะนำมาสู่ความเสี่ยงทำให้เกิดโรคยอดฮิตอย่างนึงเลยก็คือ

Read more