“ใครที่กำลังจะจัดโต๊ะคอมใหม่ แล้วมองหา “แขนจับหน้าจอ” มาใช้แทนฐานตั้งหน้าจอธรรมดาแบบเดิมที่เคยใช้ แต่ไม่รู้ว่าต้องเลือกยังไง วันนี้ Elife มีคำตอบครับ” แขนจับหน้าจอ หรือ FDMI (Flat Display Mounting Interface) คือนวัตกรรมที่เริ่มมีการนำมาใช้ในช่วงหลัง ค.ศ. 1997 หลังจากที่ VESA (Video Electranic Standarts Association) ได้เริ่มใช้ระบบ
Author: Tan
7วิธี นั่งอย่างไรให้ถูกหลัก Ergonomic
7วิธี นั่งอย่างไรให้ถูกหลัก Ergonomic เพื่อนๆหลายท่านคงใช้เวลามากพอสมควรกว่าจะเลือกโต๊ะหรือเก้าอี้ Ergonomic ได้สักตัวหนึ่ง แล้วไหนซื้อมาแล้วยังต้องมาปรับให้เข้ากับสรีระตัวเองอีก ปรับผิดปรับถูก นั่งไปๆ ไม่ยักหายปวดหลังสักที วันนี้ Elife มีเกร็ดความรู้ดีๆเกี่ยวกับการปรับโต๊ะและเก้าอี้ Ergonomic มาฝากทุกคนกันครับ ตำแหน่งของสรีระที่เหมาะสมตามหลัก Ergonomic จริงๆแล้วไม่ได้เข้าใจยากเลยมาทำไปพร้อมกันครับ 1.เท้า : ควรวางราบขนานกับพื้น หรือหากมีที่รองเท้า เท้าควรทำมุมอยู่ที่ 45 ํ
แบตเตอรี่ความจุเท่าไหร่ จึงสามารถขึ้นเครื่องบินได้?
แบตเตอรี่ความจุเท่าไหร่ สามารถขึ้นเครื่องบินได้? วันนี้ Elife มีสาระความรู้ดีๆมานำเสนอให้กับผู้ใช้วีลแชร์ทุกท่านที่ต้องการนำรถเข็นไฟฟ้าขึ้นเครื่องบินกันครับ ก่อนอื่นต้องขอแจ้งก่อนว่า แบตเตอรี่ที่สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้นั้นจะเป็นแบตเตอรี่ประเภทลิเธียมไอออน(Lithium Iron) ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา และมีความจุสูง ซึ่งได้รับอนุญาติจากกพท.ให้สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้ โดยนำไปกับผู้โดยสารในชั้นโดยสาร แต่ไม่อนุญาติให้โหลดใต้เครื่องบินเนื่องจากเหตุผลด้านความปลอดภัย โดยจะจำกัดความจุของแบตเตอรี่ที่สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้ ดังนี้ จากที่เป็นไปตามประกาศจาก สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) เรื่องหลักเกณฑ์การพาแบตเตอรี่ลิเธียมไปกับอากาศยาน พ.ศ.2559 โดยมีใจความสำคัญ คือ 1.แบตเตอรี่ลิเธียมสำรองขนาดเล็กที่มีค่าความจุไฟฟ้าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 100
เตียงไฟฟ้าปรับระดับ ไม่ป่วยใช้ได้ไหม? จะเป็นลางหรือเปล่า?
เตียงปรับระดับไฟฟ้า ไม่ป่วยใช้ได้ไหม? จะเป็นลางหรือเปล่า? “ไม่ป่วยห้ามนั่งนะ!” “ไม่ได้เป็นห้ามใช้นะ!” “มันเป็นลางไม่ดี ว่าจะได้ใช้ในอนาคต” คนไทยหลายคนจะต้องเคยได้ยินประโยคแบบนี้มาแล้วอย่างน้อย 1 ครั้งในชีวิต เวลาที่เราไปเยี่ยมคุณตาคุณยายแล้วลองหยิบไม้เท้ามาเล่น หรือตอนที่เราไปโรงพยาบาลแล้วบอกแม่ว่าอยากนั่งรถเข็นให้แม่เข็น สิ่งที่จะตามมาก็คือประโยคข้างต้นที่กล่าวไป หรือเผลอๆอาจจะเป็นการโดนเอ็ดยกใหญ่เลยด้วยซ้ำ สิ่งเหล่านี้หลายคนคิดว่าเป็นเหมือนความเชื่อที่มีมานาน เป็นเรื่องจริงตามที่ผู้ใหญ่บอก กลายเป็นเรื่องน่ากลัวปนความเชื่อไปในที่สุด ซึ่งจริงๆแล้วสิ่งเหล่านี้อาจจะเป็นแค่ “กุศโลบาย” ของผู้ใหญ่ที่ใช้ห้ามไม่ให้เด็กเล่นของพวกนี้ก็ได้ และเมื่อเด็กโตขึ้นโดยที่ไม่ได้แก้ไขความเข้าใจให้ถูกต้อง และข้อความเหลล่านี้ถูกถ่ายทอดผ่านคนรุ่นแล้วรุ่นเหล่าจนกลายเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปอย่างในปัจจุบัน เพราะไม่หลักฐานทางวิทยาศาสตร์หรือลายลักษณ์อักษรใดๆสามารถพิสูจน์เรื่องเหล่านี้ได้ว่ามีความเชื่อมโยงและเป็นเหตุผลมากพอจะทำให้คำกล่าวข้างต้นเป็นจริง แถมการนอนบนเตียงที่ดีต่อสุขภาพ ทำไมจะกลายเป็นลางไม่ดีล่ะ?