สวัสดีครับ แฟนคลับร้าน elife ทุกคน ช่วงนี้มีใครกำลังอินไปเที่ยวเขา ปีนเขาเหมือนแอดมินบ้างครับ หากใครที่สนใจเรื่องการปีนเขา ท้าทายความสามารถตัวเองบนที่สูงๆเหมือนแอดมิน แอดมินอยากจะมาแชร์ความรู้ที่ควรรู้ไว้ก่อนขึ้นที่สูงมาฝากทุกคนกันครับ เนื่องจากเรื่องนี้เป็นเรื่องที่สำคัญมากๆหากไม่รู้อาจจะเป็นอันตรายจนนำไปสู่การเสียชีวิตได้เลยทีเดียวกับ “ภาวะแพ้ที่สูง” หรือ “High-altitude illness” ภาวะแพ้ที่สูง (High-altitude illness) คือ ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่มีออกซิเจนต่ำได้ ทำให้เกิดอาการจากการขาดออกซิเจน อาการมีตั้งแต่อาการเล็กน้อย ได้แก่ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้
Tag: โรคในผู้สูงอายุ
สัญญาณบ่งบอกว่าคุณเป็นวัยทอง และโรคที่อาจตามมา
หลายคนคงเคยได้ยินมาเยอะมากๆกับคำว่า “วัยทอง” หรืออาการที่คนที่เริ่มมีอายุเป็นกัน และหลายครั้งคนวัยทองจะควบคุมอารมณ์ยากมากๆ ทำให้หลายๆครั้งก่อให้เกิดปัญหากับคนในครอบครัว หากไม่ได้รับการเข้าใจหรือได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี จริงๆแล้วอาการเหล่านี้ที่เหมือนพูดกันเล่นๆ แต่ทางการแพทย์มีข้อมูลอธิบายได้ว่า “วัยทอง” เกิดจากอะไร และรับมืออย่างไร วันนี้ elife ก็ได้นำความรู็เกี่ยวกับวัยทองมาให้เพื่อนๆได้ทราบกันครับ “วัยทอง” คืออะไร วัยทอง คือ ช่วงวัยที่ร่างกายคนเรามีภาวะฮอร์โมนเพศลดลง โดยเฉพาะผู้หญิงที่จะลดลงอย่างรวดเร็วมาก จึงทำให้มีอาการแสดงออกของวัยทองที่ค่อนข้างชัดเจนและรุนแรง อาการวัยทองสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งกับผู้หญิงและผู้ชาย ซึ่งสำหรับผู้หญิงจะเป็นช่วงเวลาหลังจากหมดประจำเดือนไปแล้วประมาณ 1 ปี
Sensor SpO2 ในสมาร์ทวอทช์ VS Fingertip Pulse Oximeter
ใครกำลังคิดว่าทำไมต้องซื้อเครื่อง Fingertip Pulse Oximeter ในเมื่อในสมาร์ทวอทซ์ที่ใช้อญุ่ก็มรในส่วนของฟังก์ชั่น Sensor SpO2 แล้วก็สามารถวัดค้าได้เหมือนกัน ต้องหยุดแล้วหันมาฟังทางนี้ก่อนนะครับวันนี้ Elife จะมาบอกถึงเหตุผลวว่าทำไม่เราต้องมี Oximeter มาฝากทุกคนกันครับ แล้วทุกคนก็น่าจะต้องร้องอ๋อกันเลยทีเดียว โดยทั่วไปแล้วเทคโนโลยีในการวัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดนั้นจะใช้หลักการทำงานของ “Light Absorption” หรือก็คือ “หลักการดูดซับแสง” โดยหลักการคือสะสารต่างชนิดกัน จะมีคุณสมบัติในการดูดซับแสงที่มีความยาวคลื่นที่แตกต่างกัน นั่นหมายความว่าการดูดซับความยาวคลื่นแสงของน้ำเปล่ากับน้ำนม ใช้ความยาวคลื่นแสงคนละคลื่นกัน หลักการ “Light
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)
“โอ้ย วันนี้รู้สึกน้ำตาลต่ำจังเลย คงต้องจัดชานมไข่มุกสักแก้วซะแล้ว” ประโยคแบบนี้หลายคนคงได้ยินเพื่อนๆชอบบ่นกันขำๆ เพื่อเป็นข้ออ้างในการกินของที่อยากกิน หรืออาจะเป็นตัวเราเองซะด้วยที่ใช้เหตุผลนี้ในการบอกถึงความจำเป็ในการกินครั้งนี้ แต่ทราบกันไหมครับว่า “ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ” นั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริงๆ และยังอันตรายถึงขั้นโคม่ากันเลยที่เดียว วันนี้ Elife จึงจะพาทุกคนมารู้จักกับภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำกันครับ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม/เดซิลิตร มักทำให้เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลียซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใช้ยาลดน้ำตาลหรือฉีดอินซูลิน อาการน้ำตาลในเลือดต่ำ -เหงื่อออก -ไม่มีแรง -เวียนศีรษะ -สับสน
ออกซิเจนในร่างกายต่ำเสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
ใครเคยมีอาการวิงเวียนศีรษะตอนอยู่บนที่สูง หรือรู้สึกหายใจลำบากตอนอยู่บนตึกสูงๆบ้างครับ หากเคยเจอผมกจะบอกว่านั่นอาจจะเป็นการเตือนว่าคุณกำลังมี “ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia)” จากการมีออกซิเจนในเลือดต่ำ ซึ่งหากปล่อยไว้อาจเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตเลยทีเดียว วันนี้ Elife จะพาทุกคนมารู้จักภาวะพร่องออกซิเจนกันครับ ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia) คือ ภาวะที่เนื้อเยื่อในร่างกายขาดออกซิเจน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ร่างกายมีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าปกติ จึงทำให้เลือดไม่สามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อในส่วนต่างๆ ของร่างกายได้นั่นเอง จนทำให้การทำงานของร่างกายและสมองบกพร่อง จึงแสดงลักษณะผิดปกติออกมาให้เห็นทางภายนอก เช่น ผิวหนังซีด เหงื่อออกมากกว่าปกติ หายใจผิดปกติ เป็นต้น โดยภาวะพร่องออกซิเจนสามารถจำแนกประเภทได้
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
“โรคความดันโลหิตสูง หรือ Hypertension“ เป็นอีกหนึ่งโรคที่ควรให้ความสำคัญทั้งในผู้สูงอายุและกลุ่มคนวัยกลางคนเนื่องจากดัชนีชี้วัดระบุว่าโรคความดันโลหิตสูง ถูกตรวจพบในผู้ป่วยที่อายุน้อยลงเรื่อยๆ โรคความดันโลหิตสูงจะส่งผลให้เกิดอาการปวดหัว หรือหน้ามืด ซึ่งอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุล้มลงได้ ดังนั้นการดูแลสุขภาพจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ โดยวิธีดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถทำได้โดยการวัดความดันโลหิตเป็นประจำ ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิทัลที่สะดวกในการใช้งาน สามารถนำมาวัดเองได้ที่บ้าน และบอกได้ทั้งค่าความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ อาการความดันโลหิตสูงเป็นอย่างไร? ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการที่สังเกตุได้ชัดเจน แต่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบๆ เหมือนไมเกรน ในผู้ป่วยที่เป็นมานาน อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ
8 ข้อ เช็คความเสี่ยงเบาหวานด้วยตัวเอง ก่อนพบคุณหมอ
8 ข้อ เช็คความเสี่ยงเบาหวานด้วยตัวเอง ก่อนพบคุณหมอ โรคเบาหวาน (Diabetes) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า อินซูลิน (Insulin) ซึ่งโดยปกติแล้วร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีอินซูลิน เพื่อนำน้ำตาลในกระแสเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะสมองและกล้ามเนื้อ ในภาวะที่อินซูลินมีความผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นการลดลงของปริมาณอินซูลินในร่างกาย หรือการที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินลดลง (หรือที่เรียกว่า ภาวะดื้ออินสุลิน) จะทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลที่อยู่ในกระแสเลือดไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้มีปริมาณน้ำตาลคงเหลือในกระแสเลือดมากกว่าปกติ สาเหตุของโรคเบาหวานเกิดจากการที่ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงมากขึ้นถึงระดับหนึ่ง จนทำให้ไตดูดกลับน้ำตาลได้ไม่หมด
โรคเบาหวานคืออะไร ระดับน้ำตาลเท่าไหร่ จึงเรียกว่าเสี่ยงโรคเบาหวาน?
สวัสดีครับ แฟนคลับ Elife ทุกคน มีใครในที่นี้เป็นสาวกของหวานกันบ้างยกมือขึ้น! ผมขอยกมือคนแรก เพราะผมเป็นคนหนึ่งที่ชอบทานของหวานมากๆ ไม่ว่าจะเป็นขนมหวานฝรั่งอย่าง ขนมเค้ก บานอฟฟี่ มาการอง ไอศกรีม ฯลฯ หรือจะเป็นขนมหวานไทย ทองหยิบ ทองหยอด ข้าวเหนียวมูลสังขยา บัวลอยน้ำกะทิ หืม ถ้ามีไข่หวานด้วยก็แจ๋วไปเลย ชักจะนอกเรื่อง กลับมาที่เรื่องของเรากันครับ สาเหตุที่ผมเกริ่นนำมาแบบนี้ เพื่อนๆที่เป็นสาวกของหวานเคยคิดกันบ้างไหมว่าการกินหวานของ อาจจะนำมาสู่ความเสี่ยงทำให้เกิดโรคยอดฮิตอย่างนึงเลยก็คือ
ปัญหาเรื่องตาจากการเรียนหรือการประชุมออนไลน์
การปรับตัวในช่วง COVID-19 อย่างหนึ่งคือการให้อยู่บ้าน หยุดเชื้อ และการรักษาระยะห่างทางสังคม โดยการใช้ระบบออนไลน์ในการเรียนและการประชุม ทำให้หลายคนเกิดปัญหาเรื่องตาขึ้น โดยเฉพาะการจ้องมองจอคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มากจนเกินไป ทำให้เกิดอาการเมื่อยล้าทางสายตา หรือที่เรียกว่า eye strain บางคนเรียกจำเพาะว่ากลุ่มอาการทางสายตาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ (computer vision syndrome) อาการที่พบบ่อย อาการตาแห้ง ตาล้า ตาพร่ามัว น้ำตาไหลบ่อย ๆ หรือปวดศีรษะ โดยเฉพาะรอบกระบอกตา
โรคกระดูกพรุน ภัยใกล้ตัวผู้สูงอายุ
ปัจจุบันโรคกระดูกพรุน กลายเป็นปัญหาระดับชาติที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น เป็นภัยใกล้ตัวที่ผู้สูงอายุมองข้ามเนื่องจากผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองมีภาวะกระดูกพรุน เพราะไม่พบว่ามีอาการใดๆ จนกระทั่งล้มแล้วมี “กระดูกหัก” จึงรู้ว่าเป็น “โรคกระดูกพรุน” สาเหตุเกิดจากการสูญเสียมวลกระดูก ทำให้กระดูกเสียคุณสมบัติการรับน้ำหนัก กระดูกเปราะ หักง่าย บางคนอาจตัวเตี้ยลง (มากกว่า 3 ซม.) เนื่องจากกระดูกสันหลังโปร่งบางและยุบตัวลงช้าๆ หรือบางคนมีอาการปวดหลังจากการล้มหรือยกของหนัก โรคกระดูกพรุน คือ โรคกระดูกชนิดหนึ่งที่กระดูกเริ่มเสื่อมและบางลงเนื่องจากการสูญเสียแคลเซียมที่สะสมในกระดูก โรคนี้จะไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดนอกจากกระดูกแตกหรือหัก พบได้บ่อยบริเวณกระดูกสันหลัง
การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ภาวะการหกล้มก็เป็นอีกหนึ่งความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดอันตราย และพบบ่อยในผู้สูงอายุโดยแต่ละปี 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุมักประสบการลื่นล้มและครึ่งหนึ่งลื่นล้มมากกว่า 1 ครั้ง เมื่อผู้สูงอายุหกล้มและกระดูกหัก พบว่า 1 ใน 5 ไม่สามารถกลับมาเดินได้อีกและบางส่วนต้องใช้รถเข็นไปตลอด ส่งผลให้ผู้สูงอายุสูญเสียความสามารถในการดูแลตนเองและต้องมีคนดูแลตลอดเวลา มีภาวะสับสน มีปัญหาการเคลื่อนไหวทำให้เกิดอาการซึมเศร้าตาม การหกล้มมีปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ 2 ประการ คือ สาเหตุที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจากการที่มีพยาธิสภาพจากอายุที่เพิ่มขึ้น เช่น
โรคหลอดเลือดสมองภัยผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมองภัยผู้สูงอายุ Stroke หรือ โรคหลอดเลือดสมอง คือ ภาวะที่ทำให้เซลล์สมองถูกทำลาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลอดเลือดสมองตีบ อุดตัน หรือแตก ทำให้ขัดขวางการลำเลียงเลือดซึ่งนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงเซลล์สมอง ส่งผลให้สมองสูญเสียการทำหน้าที่จนเกิดอาการของอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โรคหลอดเลือดสมองสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ Ischemic Stroke เป็น “ภาวะหลอดเลือดสมองตีบตัน” หรือ “ภาวะสมองขาดเลือด” พบได้ประมาณ 80%
ไวรัสโคโรน่า
การระบาดของ “ไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2019” เป็นไวรัสตัวใหม่ที่ถูกเรียกในชื่อ ‘2019-nCoV’ หรือ โรคทางเดินหายใจร้ายแรง ที่เกิดจากไวรัสโคโรน่า ข้ามสปีชีส์จากค้างคาวผ่านงูเห่ามาติดเชื้อในคน ก่อให้เกิดโรคปอดอักเสบ เริ่มระบาดในประเทศจีน เมืองอู่ฮั่น กลุ่มเสี่ยงโรคปอดอักเสบติดเชื้อ: บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปอดอักเสบติดเชื้อ ได้แก่ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี เด็กที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจโรคปอด
ประโยชน์ของการนั่งตัวตรง 90 องศา
ประโยชน์ของการนั่งตัวตรง 90 องศา ท่านั่งบนรถเข็นที่ถูกต้องสำหรับผู้ป่วย คือ การนั่งตัวตรง สะโพกและหลังอยู่ชิดกับพนักหลังของเก้าอี้ เชิงกรานทั้ง 2 ข้าง ไหล่ทั้ง 2 ข้างเสมอกัน วางบนพนักที่วางแขนหรือบนหมอน สำหรับในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกที่มีแขนข้างหนึ่งอ่อนแรง ควรที่จะต้องได้รับการจัดท่าแขนข้างอ่อนแรงเป็นพิเศษเพราะนอกจากอ่อนแรงยังมีปัญหากล้างเนื้อเกร็งตัว ดังนั้น ต้องหาหมอนมารองแล้วให้แขนอยู่ในวางคว่ำราบ งอศอก แขนไม่บิดหมุน ให้ผู้ป่วยหมั่นใช้มือข้างปกติคอยจับนิ้วมือข้างอัมพาตให้เหยียดออกวางคว่ำราบ หรืออาจจะใช้มือประสานกันเพื่อลดอาการเกร็งของมือข้างอัมพาต ประโยชน์ของการนั่งตัวตรงในผู้ป่วยที่ใช้รถเข็นสุขภาพ: เมื่อนั่งตัวตรง
เข้าใจวัยรุ่นยุค1950’s
ภาวะซึมเศร้าในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปพบได้มากถึง 10 – 20 พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และยิ่งมีอายุมาก ความเสี่ยงยิ่งเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นบุตรหลานควรทำความเข้าใจความรู้สึกของผู้สูงอายุ ว่าท่านต้องการอะไร หรือท่านมีภาวะด้านอารมณ์ ด้านกายภาพ ด้านใดบ้างที่มีการเปลี่ยนแปลง เพราะถ้าปล่อยปะละเลยอาจเกิดผลร้ายแรงตามมาได้ ภาวะอารมณ์เศร้า หรือโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ (Late-life depression) เป็นโรคซึมเศร้าที่เกิดในผู้สูงวัย ช่วงอายุ
ลดความเสี่ยงหัวใจวายเฉียบพลัน
สาเหตุสำคัญของโรคหัวใจมาจากโรควิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ความอ้วน และสูบบุหรี่ ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจแข็งตัว หรือตีบตัน ดังนั้น ผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จึงควรตรวจสุขภาพประจำทุกปี เพื่อติดตามประเมินภาวะสุขภาพ ซึ่งหากพบมีผิดปกติจะได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยอย่างละเอียด หรือรับคำแนะนำในการปฏิบัติตนเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่อไป นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตำแหน่งปัจจุบัน) ให้ข้อมูลว่า ในการลดความเสี่ยงโรคหัวใจและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เป็นปัจจัยหลักของภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ทำได้โดยรับประทานอาหารสุขภาพ เช่น ผัก
หกล้ม ในผู้สูงวัย เรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
ชวนใส่ใจ “ผู้สูงอายุ” ญาติผู้ใหญ่ในบ้าน ที่เราควรใส่รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ โดยเฉพาะ >> บ้าน << สถานที่ ที่คิดว่าปลอดภัยที่สุด อาจร้ายที่สุดก็ได้ ปัญหาที่เรามักพบบ่อยใน ผู้สูงอายุ จะเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุพลัดตก หกล้มเป็นส่วนมาก คือกระดูกสะโพกหัก และศรีษะได้รับความกระทบกระเทือน เป็นสาเหตุที่ทำให้พิการ
โรคผู้สูงอายุ
สังคมไทยทุกวันนี้มีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น หันไปทางไหนก็มีแต่ผู้สูงอายุเต็มไปหมด (ซึ่งเราก็จะเป็นผู้สูงอายุในวันข้างหน้าเหมือนกัน) การใช้ชีวิตประจำวันก็ไม่สะดวกสบายเหมือนเดิม อันเนื่องมาจากปัญหาสุขภาพ ที่เสื่อมโทรมไปตามวัย บ้างก็ประสบปัญหาปวดเข่า หูตาฝ้าฟาง เป็นต้น ในขณะที่พื้นที่สาธารณะหลายๆแห่ง ที่รวมถึงหลากหลายครอบครัว ก็เริ่มให้ความสำคัญกับปัญหาเหล่านี้ อย่างหนึ่งที่เริ่มทำกันคือ การมองหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เอื้อกับผู้สูงอายุได้ใช้ และได้เข้าถึง เช่น การมีลิฟท์สำหรับการใช้รถไฟฟ้า นอกเหนือจากบันไดเลื่อน การมีห้องน้ำเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุ หรือแม้กระทั่งการเลือกหา รถเข็นนั่งวิลล์แชร์ และวิลล์แชร์ไฟฟ้า
แผลกดทับคืออะไร ??
แผลกดทับ (pressure sores) แผลกดทับ คือบริเวณผิวหนังและกล้ามเนื้อที่เกิดความเสียหาย สามารถเกิดขึ้นได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมงแต่ ส่งผลกระทบเป็นระยะเวลานานหลายเดือนและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ สาเหตุของแผลกดทับ สาเหตุหลักของการเกิดแผลกดทบัมี 3 ประการ ดังนี้ แรงกดทับ (pressure): แผลกดทับอาจเกิดจากแรงกดทับบนผิวหนังจากการนั่ง หรือนอนในท่าเดิมเป็นเวลานานเกินไปโดยไม่มีการเคลื่อนไหว ผู้ใช้รถนั่งคนพิการเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงเนื่องจากใช้เวลานั่งบนรถนั่งคนพิการแต่ ละวันเป็นเวลานาน หากไม่มีการลดแรงกดทับ แผลกดทับจะเกิดขึ้นง่ายมาก การเสียดสี (friction):
ที่มาของของ”ยาหม่อง”
แหล่งที่มา เว็บไซต์เด็กดี ยาหม่องถือกำเนิดในประเทศแถบยุโรป เนื่องจากเป็นเมืองหนาว คนก็จะเป็นหวัด คัดจมูกกันมาก เพราะอากาศ มันมักจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอๆ เขาก็จะใช้น้ำมันที่เรียกว่าเมนทอลาทัมทาบรรเทา อาการเป็นหวัด คัดจมูก ต่อมาก็มีการนำเอาเมนทอลาทัม มาผสมกับสมุนไพรต่างๆเพื่อเพิ่มกลิ่นและรสให้ร้อนแรงมากยิ่ง ขึ้น และส่งมาขายทางประเทศสิงคโปร์ และมาเลเซีย เมื่อเข้ามาในประเทศไทยก็เป็นที่แพร่หลาย ซึ่งยี่ห้อแรกๆที่เข้ามาขายประเทศไทย ก็คือยาหม่องตราเสือ หรือที่ฝรั่งเขาเรียกว่า TIGER PLAM ส่วนเหตุที่เรียกว่ายาหม่องนั้น มี